พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
*** ตะกรุดสามห่...
*** ตะกรุดสามห่วง หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม ยุคปลาย เชือกในล่อน สวยเดิมๆครับ***
ตำนานการสร้างตะกรุดหลวงพ่อเต๋ จะแบ่งแยกเป็น 2ประเภท
ประเภทแรก เป็นตะกรุดที่ไม่ได้ถัก เป็นตะกรุดโทน ใช้แขวนเอว รูดตะกรุดมาไว้ที่ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้างซ้าย และขวาได้ จะเรียกกันว่า ตะกรุดมหารูด ยุคแรกๆ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2480 จะสร้างด้วย ตะกั่ว ตีแผ่นเป็นแผ่นแล้วให้หลวงพ่อเต๋ลงยันต์ ปลุกเสก แล้วม้วนเป็นตะกรุด ประมาณ 4 - 5 ชั้น หลังจากนั้นก็จะมีการสร้างด้วย อลูมีเนียมบ้าง เงินบ้าง ทองแดงบ้าง ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ผู้ต้องการ นำมาให้หลวงพ่อต๋
ประเภทที่สอง หลังจากปี พ.ศ. 2485 เป็นตะกรุดที่ใช้ กระดาษ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ถุงปูนซีิเมนต์ แล้วลงยันต์ หลังจากนั้นนำมาม้วนด้วย ก้านตาล ก่อนนำไปให้หลวงพ่อเต๋ปลุกเสก แล้วจึงนำมาถักด้วยเชือกกระสอบอีกทีนึง เป็นสามหู เรียกกันว่า ตะกรุดสามหู หูเป็นลวด เป็นทองแดง แล้วก็เป็นสายไฟ ตามลำดับ มีการทายางไม้บ้าง ทารักแดง รักดำบ้าง แล้วแต่จะหาได้ตามกาลเวลา ในยุคสุดท้ายจะใช้ถักด้วยเชือกไนล่อน นอกจากกระดาษแล้วก็ยังมีการใช้ หนังหน้าผากเสือ และ หนังเสือ ด้วย แต่น้อยมาก ในยุค ระหว่างปี พ.ศ. 2518 - 2520 ได้มีการใช้ ผ้าแดง และผ้าขาว ปั๊มยันต์ แทนกระดาษ หลังจากนั้นก็มาถักเชือกสามหูอีกครั้งนึง ตะกรุดผ้าแดง นี้ส่วนใหญ่จะไปตกอยู่ที่วัดกาหลง เนื่องจากหลวงพ่อเต๋ ถวายไปให้วัดกาหลง ในสมัยที่หลวงพ่อสุด ยังเป็นเจ้าอาวาส และตะกรุดผ้าแดงนี้ เล่าว่า ตี๋ใหญ่ใช้ติดตัวด้วย ในยุคสุดท้ายของหลวงพ่อเต๋ ใช้แผ่นอลูมีเนียม ตัดเป็นชายธงปั๊มยันต์ ม้วนเป็นตะกรุดแล้วถักด้วยเชือกอีกทีนึง
ตะกรุด หลวงพ่อเต๋ ยุคก่อนคนที่ได้ไป จะต้องลองยิงก่อน ที่แถวหลังวัด เมื่อแน่ใจแล้วจึงนำไปแขวน ดังนั้นตะกรุดหลวงพ่อเต๋ ไม่ว่าจะเป็นยุคไหน แบบไหน ใช้ได้ทั้งนั้นครับสุดยอด ครับ
ผู้เข้าชม
24993 ครั้ง
ราคา
โทรถามครับ
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
มงคลโสฬส
ชื่อร้าน
มงคลโสฬส , www.mongkolsoros.99wat.com
ร้านค้า
mongkolsoros.99wat.com
โทรศัพท์
0859193982
ไอดีไลน์
0818661312
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารทหารไทย / 012-2-71531-1
เหรียญหลวงปู่ทวด รุ่น3 บล๊อกปร
พระกริ่งชินบัญชร ญสส-เพชรกลับ
รูปหล่อ หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง ภู
เหรียญหล่อ หลวงพ่อแก้ว วัดนางส
เหรียญหล่อโบราณ หลวงพ่อคูณที่ร
พระสมเด็จพุทธไชยศรี ว่าน 108 ล
พระปิดตา หูกระต่าย หลวงพ่อเอีย
พระลือโขง หน้านาง ซุ้มเรือนแก้
***สิงห์งาแกะ ตัวใหญ่ๆ เก่ามาก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
เจริญสุข
Erawan
ยิ้มสยาม573
เอก พานิชพระเครื่อง
ปราสาทมรกต
somphop
ศิษย์หลวงปู่หมุน
termboon
JO RAYONG
บ้านพระสมเด็จ
บ้านพระหลักร้อย
เนินพระ99
ยุ้ย พลานุภาพ
sakunchart
traveller277
someman
เปียโน
ภูมิ IR
ว.ศิลป์สยาม
จิ๊บพุทธะมงคล
บี บุรีรัมย์
ponsrithong2
กรัญระยอง
kaew กจ.
hopperman
2668Amulet
วุฒิระนอง
Beerchang พระเครื่อง
Ahnnn
เทพจิระ
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1365 คน
เพิ่มข้อมูล
*** ตะกรุดสามห่วง หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม ยุคปลาย เชือกในล่อน สวยเดิมๆครับ***
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
*** ตะกรุดสามห่วง หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม ยุคปลาย เชือกในล่อน สวยเดิมๆครับ***
รายละเอียด
ตำนานการสร้างตะกรุดหลวงพ่อเต๋ จะแบ่งแยกเป็น 2ประเภท
ประเภทแรก เป็นตะกรุดที่ไม่ได้ถัก เป็นตะกรุดโทน ใช้แขวนเอว รูดตะกรุดมาไว้ที่ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้างซ้าย และขวาได้ จะเรียกกันว่า ตะกรุดมหารูด ยุคแรกๆ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2480 จะสร้างด้วย ตะกั่ว ตีแผ่นเป็นแผ่นแล้วให้หลวงพ่อเต๋ลงยันต์ ปลุกเสก แล้วม้วนเป็นตะกรุด ประมาณ 4 - 5 ชั้น หลังจากนั้นก็จะมีการสร้างด้วย อลูมีเนียมบ้าง เงินบ้าง ทองแดงบ้าง ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ผู้ต้องการ นำมาให้หลวงพ่อต๋
ประเภทที่สอง หลังจากปี พ.ศ. 2485 เป็นตะกรุดที่ใช้ กระดาษ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ถุงปูนซีิเมนต์ แล้วลงยันต์ หลังจากนั้นนำมาม้วนด้วย ก้านตาล ก่อนนำไปให้หลวงพ่อเต๋ปลุกเสก แล้วจึงนำมาถักด้วยเชือกกระสอบอีกทีนึง เป็นสามหู เรียกกันว่า ตะกรุดสามหู หูเป็นลวด เป็นทองแดง แล้วก็เป็นสายไฟ ตามลำดับ มีการทายางไม้บ้าง ทารักแดง รักดำบ้าง แล้วแต่จะหาได้ตามกาลเวลา ในยุคสุดท้ายจะใช้ถักด้วยเชือกไนล่อน นอกจากกระดาษแล้วก็ยังมีการใช้ หนังหน้าผากเสือ และ หนังเสือ ด้วย แต่น้อยมาก ในยุค ระหว่างปี พ.ศ. 2518 - 2520 ได้มีการใช้ ผ้าแดง และผ้าขาว ปั๊มยันต์ แทนกระดาษ หลังจากนั้นก็มาถักเชือกสามหูอีกครั้งนึง ตะกรุดผ้าแดง นี้ส่วนใหญ่จะไปตกอยู่ที่วัดกาหลง เนื่องจากหลวงพ่อเต๋ ถวายไปให้วัดกาหลง ในสมัยที่หลวงพ่อสุด ยังเป็นเจ้าอาวาส และตะกรุดผ้าแดงนี้ เล่าว่า ตี๋ใหญ่ใช้ติดตัวด้วย ในยุคสุดท้ายของหลวงพ่อเต๋ ใช้แผ่นอลูมีเนียม ตัดเป็นชายธงปั๊มยันต์ ม้วนเป็นตะกรุดแล้วถักด้วยเชือกอีกทีนึง
ตะกรุด หลวงพ่อเต๋ ยุคก่อนคนที่ได้ไป จะต้องลองยิงก่อน ที่แถวหลังวัด เมื่อแน่ใจแล้วจึงนำไปแขวน ดังนั้นตะกรุดหลวงพ่อเต๋ ไม่ว่าจะเป็นยุคไหน แบบไหน ใช้ได้ทั้งนั้นครับสุดยอด ครับ
ราคาปัจจุบัน
โทรถามครับ
จำนวนผู้เข้าชม
25236 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
มงคลโสฬส
ชื่อร้าน
มงคลโสฬส , www.mongkolsoros.99wat.com
URL
http://www.mongkolsoros.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0859193982
ID LINE
0818661312
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารทหารไทย / 012-2-71531-1
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี